โครงสร้างรายวิชา
รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ รายวิชา ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา
๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต
ลำดับที่
|
หน่วยการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
|
สาระการเรียนรู้
|
เวลา(ชั่วโมง)
|
น้ำหนักคะแนน
|
||||
ปฐมนิเทศ
|
๑
|
||||||||
๑
|
ความรู้พื้นฐานทางภาษา
|
ท ๔.๑ ม.๒/๑
ท ๔.๑ ม.๒/๒
ท ๑.๑ ม.๒/๑
|
- ธรรมชาติของภาษา
- พยางค์ คำ
และการสร้างคำ
- ลักษณะของประโยคในภาษาไทย
-
ประโยคสามัญ
-
ประโยครวม
- ประโยคซ้อน
- การอ่านคำศัพท์ สำนวนโวหาร
- การอ่านแผนภูมิ แผนที่
และตาราง
- การใช้ภาษาในการเขียน
รวม
|
๓
๓
๒ ๑ ๒
๑๑
|
๒
๒
๒
๒
๒
๑๐
|
||||
๒
|
พัฒนาทักษะทางภาษา ๑
|
ท ๔.๑ ม.๒/๕
ท ๔.๑ ม.๒/๒
ท ๔.๑ ม.๒/๑
ท ๑.๑ ม.๒/๘
|
-
คำไทยและคำภาษาต่างประเทศ
- ชนิดและหน้าที่ของประโยค
- การพัฒนาสมรรถภาพการอ่าน
- การอ่านออกเสียง ประกอบด้วยบทร้อยแก้ว
และบทร้อนกรอง
- สาระท้องถิ่น ได้แก่ บทร้อยกรองท้องถิ่น เช่น
คำทวย คำสอยคำคล้องจอง
- มารยาทในการอ่าน
รวม
|
๓
๓ ๒
๒
๒
๑๒
|
๒
๒ ๒
๒
๒
๑๐
|
||||
ลำดับที่
|
หน่วยการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
|
สาระการเรียนรู้
|
เวลา(ชั่วโมง)
|
น้ำหนักคะแนน
|
||||
๓
|
พัฒนาทักษะทางภาษา ๒
|
ท ๒.๑ ม.๒/๑
ท ๒.๑ ม.๒/๓
ท ๒.๑ ม.๒/๔
|
-
การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย
-
การเขียนเรียงความเกี่ยวกับ
ประสบการณ์
-
การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน
คำสอน บทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ์
เรื่องราวในบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น นิทานชาดก
|
๒
๒
๒
|
๑
๒
๓
|
||||
สอบกลางภาค
|
๑
|
๒๐
|
|||||||
๓
|
พัฒนาทักษะทางภาษา ๒
|
ท ๓.๑ ม.๒/๓
ท ๒.๑ ม.๒/๒
|
-
การวิเคราะห์และจับประเด็นสำคัญจากเรื่องที่ฟัง ที่ดู
- การเขียนบันทึก
- การเขียนบรรยายและพรรณนา
รวม
|
๒
๒
๒
๑๒
|
๑
๑ ๒
๑๐
|
||||
๔
|
ภาษาในการสื่อสาร
|
ท ๑.๑ ม.๒/๗
ท ๒.๑ ม.๒/๗
ท ๓.๑ ม.๒/๖
ท ๓.๑ ม.๒/๑
ท ๓.๑ ม.๒/๓
|
-
การอ่านเพื่อวิเคราะห์และประเมินค่า
-
การเขียนแสดงความคิดเห็นและการเขียนโต้แย้ง
-
การพูดเชิงวิเคราะห์และมารยาทการพูด
-
การพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังและดู
-
การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์จากเรื่องที่ฟังและดู
|
๒
๒ ๒
๑
๑ |
๒
๒ ๒ ๑ ๑ |
||||
ลำดับที่
|
หน่วยการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
|
สาระการเรียนรู้
|
เวลา(ชั่วโมง)
|
น้ำหนักคะแนน
|
||||
๔
|
ภาษาในการสื่อสาร
|
ท ๑.๑ ม.๒/๓
ท ๑.๑ ม.๒/๔
|
- การเขียนผังความคิด
- อภิปรายและแสดงความคิดเห็นข้อโต้แย้ง จากเรื่องที่อ่าน
รวม
|
๑
๑
๑๐
|
๑
๑
๑๐
|
||||
๕
|
วรรณคดีมรดก
|
ท ๕.๑ ม.๒/๑
ท ๕.๑ ม.๒/๒
ท ๕.๑ ม.๒/๓
ท ๕.๑ ม๒/๔
|
- การสรุปเนื้อหารในวรรณคดีในระดับที่ยากขึ้น
-
การพิจารณาคุณค่าวรรณคดีด้านสังคมประเพณี
- การวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่น
นิทานพื้นบ้านท้องถิ่น
- ตำนานพื้นบ้าน
-
สารคดีเรื่องราวท้องถิ่น
- คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน
การวิจักษณ์องค์ประกอบของวรรณคดี
-
การพิจารณาคุณค่าวรรณคดีด้านเนื้อหา
-
การพิจารณาคุณค่าวรรณคดีด้านสังคม
สรุปความรู้และข้อคิด
การนำไปประยุกต์ใช้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
รวม
|
๒
๒ ๒
๒
๓
๓
๑๔
|
๑
๒
๒
๒
๒
๒
๑๑
|
||||
สอบปลายภาค
|
๑
|
๓๐
|
|||||||
รวมตลอดภาคเรียน
|
๖๐
|
๑๐๐
|
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น